หน่วย : พิพิธภัณฑ์ของเล่น
คำถามหลัก ( Big Question ) : นักเรียนจะสามารถนำวัสดุที่มีอยู่รอบตัวมาประดิษฐ์ของเล่นได้อย่างไร?
คำถามหลัก ( Big Question ) : นักเรียนจะสามารถนำวัสดุที่มีอยู่รอบตัวมาประดิษฐ์ของเล่นได้อย่างไร?
นักเรียนมีวิธีการเลือกเล่นและเล่นของเล่นอย่างไรให้ปลอดภัย?
ภูมิหลังของปัญหา : ในปัจจุบันของเล่นเด็กมักเป็นของเล่นที่ผลิตมาจากโรงงานที่มีสีสันสวยสะดุดตา มีรูปร่างรูปทรงที่หลากหลาย ดึงดูดความสนใจเด็ก มีทั้งแบบมาตรฐานคุณภาพและไม่มีมาตรฐานคุณภาพรองรับ (ม.อ.ก.) ทำให้เกิดภัยเงียบที่แอบแฝงมากับของเล่นที่สร้างความสุขสนุกสนานให้กับเด็ก เช่น สารเคมีพาทาเลต (phthalates ), สารตะกั่ว, โลหะ และสี ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพร่างกาย ทำลายเซลล์ประสาท/ ระบบทางเดินหายใจ ทำให้พัฒนาการล่าช้า สมาธิสั้น ระดับสติปัญญาต่ำลง พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง หรืออาจส่งผลให้เกิดโรคมะเร็งได้ อีกทั้งส่งผลให้เกิดภาวะโลกร้อนจากขยะของเล่นที่เลิกเล่นแล้ว
จากปัญหาที่พบ นักเรียน ครู ผู้ปกครองเกิดความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญของของเล่น/การเล่น รวมถึงกระบวนการออกแบบสิ่งประดิษฐ์ของเล่นจากธรรมชาติและวัสดุเหลือใช้ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้งสี่ด้านของนักเรียนได้อย่างเหมาะสมกับช่วงวัย พร้อมทั้งเรียนรู้วิธีการเลือกของเล่น /เล่น ของเล่นให้ปลอดภัย
เป้าหมายของความเข้าใจ (Understanding Goal) : นักเรียนเห็นคุณค่าของของเล่น /การละเล่น
/ ธรรมชาติและสิ่งต่างๆรอบตัว อีกทั้งยังสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ เช่น การนำเอาวัสดุจากธรรมชาติรอบตัวมาประดิษฐ์เป็นของเล่นได้ พร้อมทั้งรู้จักเลือกเล่น/เล่นของเล่นให้เหมาะสมกับตนเอง เรียนรู้วิธีการเล่นให้ปลอดภัย
ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ PBL (Problem Based Learning)
หน่วย : “พิพิธภัณฑ์ของเล่น ”
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
11 - 15ม.ค. 59
|
โจทย์ :
- สร้างแรงบันดาลใจ
- สร้างฉันทะในการเรียนรู้
เครื่องมือคิด
Key Question
- สิ่งมีชีวิตกับสิ่งที่ไม่มีชีวิตมีลักษณะที่เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร? -ของเล่นเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่? - จะสามารถนำอะไรที่อยู่ในโรงเรียนมาทำเป็นของเล่นได้บ้าง?
-จะเล่นของเล่นแต่ละชิ้นอย่างไรให้ปลอดภัย?
- สัตว์ เช่นสุนัขหรือแมวจะเล่น
ของเล่นเหมือนหรือต่างกับเราอย่างไร?
Blackboard Share :
Show and Share :
Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
- นิทาน
- คลิปวีดิโอ
|
กิจกรรม :
- นักเรียนดูคลิปวีดิโอการ์ตูนเรื่อง“โดเรม่อน ตอนเมืองของเล่น”
- ครูและนักเรียนเดินสำรวจของเล่นรอบบริเวณโรงเรียนรวมทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
- นักเรียนประดิษฐ์ของเล่น “กงจักร”
- นักเรียนทดลองเล่น “กงจักร”
-ครูเล่านิทานเรื่อง“ของเล่นของคุณตา”
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาทั้งสัปดาห์และแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นในการทำกิจกรรมร่วมกัน
|
ภาระงาน
- เดินสำรวจและพูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่เห็นรอบๆโรงเรียน
-สนทนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับของเล่น
- Show and Share สรุปกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- วาดภาพระบายสีของเล่นที่พบเห็นในโรงเรียน
-ประดิษฐ์ของเล่น “กงจักร”
- ใบงานเขียน Wep เชื่อมโยงสิ่งมีชีวิต/ไม่มีชีวิตกับของเล่น
-ใบงานแตก Web การเล่น/ทำ“กงจักร”
|
ความรู้ :
- นักเรียนเข้าใจ และสามารถอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตได้ อีกทั้งยังสามารถบอกเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้พร้อมให้เหตุผลได้
ทักษะ :
** ทักษะชีวิต
** ทักษะการคิด
** ทักษะการสื่อสาร
** ทักษะการสังเกต
** ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
**ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกันเคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
2
18 - 22
ม.ค.59
|
โจทย์ :
- การวางแผนการเรียนรู้
เครื่องมือคิด
Key Question
- นักเรียนจะออกแบบแผนการเรียนรู้ในQ.4
อย่างไรให้มีความสุข ?
- นักเรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับของเล่น
-นักเรียนอยากเรียนรู้อะไรเกี่ยวกับ “ของเล่น” ?
Brainstorms :
Card and Chart :
Show and Share :
- นำเสนอชิ้นงาน
Blackboard Share :
Wall Thinking
- ติดชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศภายในห้องเรียน
นิทาน
|
กิจกรรม :
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ของขวัญจากคุณพ่อ”
- นักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ และร่วมกันสรุปสิ่งที่อยากเรียนรู้และนำเสนอชื่อเรื่องที่น่าสนใจ
- นักเรียนวาดรูปสิ่งที่รู้แล้วและอยากเรียนรู้เพิ่มเกี่ยวกับของเล่น
- ครูเล่านิทานเรื่อง“คนจิ๋วตัวเล็กกับของชิ้นใหญ่
-นักเรียนทดลองทำแป้งโดว์
-นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้มาทั้งสัปดาห์ โดยปั้นแป้งโดว์เรื่องที่อยากเรียนรู้เป็นกลุ่ม
-ใบงานแตก Web การทดลองทำแป้งโดว์
- ปั้นแป้งโดว์เรื่องที่อยากเรียนรู้เป็นกลุ่ม
|
ภาระงาน
- ระดมความคิดในการจัดกลุ่มความสนใจที่นักเรียนอยากเรียนรู้
- พูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้และตั้งชื่อหน่วย
-ประดิษฐ์หุ่นยนต์
-นักเรียนทดลองทำแป้งโดว์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ใบงานวาดภาพและเขียนสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ และเขียนชื่อหน่วย
-วาดภาพสิ่งที่ตนเองรู้เกี่ยวกับของเล่นคนละ 1 อย่าง
-ประดิษฐ์หุ่นยนต์เป็นกลุ่ม
|
ความรู้ :
- นักเรียนสามารถอธิบายและตั้งคำถามเมื่อแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับสิ่งที่เห็น/ฟัง และบอกสิ่งที่ตนเองรู้ /อยากเรียนรู้ ได้อย่างน่าสนใจ
ทักษะ :
** ทักษะชีวิต
** ทักษะการคิด
** ทักษะการอยู่ร่วมกัน
** ทักษะการสื่อสาร
** ทักษะการสังเกต
** ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ -เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
3
25 - 29
ม.ค. 59
|
โจทย์ :
- ของเล่นจากวัสดุธรรมชาติ - ส่วนประกอบต่าง ๆของพืช เช่นใบ/ ลำต้น/ ผล / เมล็ด
เครื่องมือคิด
Key Questions
- ถ้าไม่มีของเล่น นักเรียนจะนำอะไรมาเล่นได้บ้าง/เล่นอย่างไร?
- ของเล่นจากธรรมชาติมีอะไรบ้าง?
- นักเรียนจะเล่นอย่างไรให้ปลอดภัย? ”
-ของเล่นแต่ละชนิดมีประโยชน์อย่างไรบ้าง?
-นักเรียนมีวิธีการเก็บรักษาดูแลของเล่นอย่างไร?
Brainstorms :
Blackboard Share :
- Wall Thinking :
- ติดชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
-ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-บรรยากาศรอบบริเวณโรงเรียน
- ครูเล่านิทาน
- เมล็ดมะค่า/เมล็ดมะขาม/เมล็ดถั่ว
|
กิจกรรม :
- นักเรียนเล่น “หมากเก็บเมล็ดมะค่า”
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเล่นหมากเก็บเมล็ดมะค่า
- นักเรียนเล่น“อีตัก”
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเล่น“อีตัก”
- นักเรียนร่วมกันเล่น “กำทาย”
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเล่น“กำทาย”
- นักเรียนทำของเล่นพื้นบ้าน เช่น ปืน ม้าก้านกล้วย การละเล่นเดินกะลา
- ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปกิจกรรมที่ทำร่วมกันมาทั้งสัปดาห์
|
ภาระงาน
-นักเรียนกลับไปถามผู้ปกครองเกี่ยวกับของเล่นจากเมล็ดพืชมีอะไรบ้าง?
-เตรียมเม็ดมะขามมาจากบ้านคนละ10 เม็ด -เล่นหมากเก็บมะค่าแต้ - เล่น“อีตัก” - เล่น “กำทาย”
-เล่นปืน/ม้าก้านกล้วย
ชิ้นงาน
-ใบงาน เขียน Wep การเล่น“หมากเก็บเมล็ดมะค่า”
-ใบงานเขียน Wep “การเล่นกำทาย”
-ใบงานเขียน Wep “การเล่นอีตัก”
-ของเล่น ปืนและ ม้าก้านกล้วย
|
ความรู้ :
นักเรียนเห็นคุณค่าของธรรมชาติ และยังสามารถบอกเกี่ยวกับของเล่นที่มาจากธรรมชาติรวมทั้งวิธีการเล่นอย่างปลอดภัยได้
ทักษะ :
** ทักษะชีวิต
** ทักษะการคิด
** ทักษะการอยู่ร่วมกัน
** ทักษะการสื่อสาร
** ทักษะการสังเกต
**ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
** ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
-เคารพ สิทธิ หน้าที่เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
4
1-5
ก.พ.59
|
โจทย์ :
ของเล่นจากวัสดุธรรมชาติ
- ส่วนประกอบต่าง ๆของพืชหรือต้นไม้ เช่นใบ/ ลำต้น/ ผล / เมล็ด
เครื่องมือคิด
Key Question
- นักเรียนจะสามารถออกแบบและประดิษฐ์ของเล่นจากวัสดุธรรมชาติให้มีคุณค่า/เกิดประโยชน์และเหมาะสมกับตนเองได้อย่างไร?
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากของเล่นจากไม้และวัสดุธรรมชาติ
- นักเรียนเล่นอย่างไรให้ปลอดภัย?”
-การละเล่นมีประโยชน์อย่างไรบ้าง?
-นักเรียนมีวิธีการเก็บรักษาดูแลของเล่นอย่างไรบ้าง?
Brainstorms :
Blackboard Share :
Show and Share :
- นำเสนอชิ้นงาน
Wall Thinking
- ติดชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
-ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศภายใน
- บริเวณสนามกลางแจ้ง
-ดูคลิปวีดิโอ
-นิทาน
|
กิจกรรม :
- นักเรียนดูคลิปวีดิโอ “ของเล่นพื้นบ้านที่ทำจากไม้”
- ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคลิป “ของเล่นพื้นบ้านที่ทำจากไม้”
- นักเรียนเล่น “หมากเก็บไม้”
- นักเรียนทำว่าวเป็นกลุ่ม
สนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาที่พบในการปะโครงสร้างว่าว
- นักเรียนทดลองเล่นว่าว
- วิทยากรผู้ปกครองอาสาพานักเรียนสานใบมะพร้าวเป็นของเล่น
-กิจกรรมเดินทางไกล
-นักเรียนเดินทางไกล
-นักเรียนเขียนบันทึกความทรงจำในการเดินทางไกลลงสมุดบันทึกวัยเยาว์
|
ภาระงาน
- นักเรียนเล่นหมากเก็บไม้ไผ่
-นักเรียนเตรียมโครงสร้างว่าวมากลุ่มละ 1 ตัว และกระดาษหนังสือพิมพ์ กลุ่มละ 3 แผ่น
- ครูให้นักเรียนทุกคนเตรียมใบมะพร้าวมาคนละ 5 ใบ
- ทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกันทั้งสัปดาห์
-กิจกรรมเดินทางไกล
ชิ้นงาน
- ว่าว
-สานใบมะพร้าว
-ใบงานเขียน Web การทดลองทำ/เล่นว่าว
- ใบงานแตก Web การสานใบมะพร้าวเป็นของเล่น
|
ความรู้ :
- สามารถอธิบายเกี่ยวกับของเล่นที่ทำมาจากไม้และสามารถประดิษฐ์ของเล่นเล่นได้เอง
- เรียนรู้วิธีการสืบค้นหาข้อมูลด้วยตนเอง
ทักษะ :
** ทักษะชีวิต
** ทักษะการคิด
** ทักษะการสื่อสาร
** ทักษะการสังเกต
** ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
** ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
5
8-12
ก.พ. 59
|
โจทย์ :
ของเล่นจากวัสดุเหลือใช้
-กระดาษ /ขวดพลาสติก/ไม้ไอติม /แผ่น CD
เครื่องมือคิด
Key Questions
- นักเรียนจะสามารถออกแบบและประดิษฐ์ของเล่นจากวัสดุเหลือใช้ให้มีคุณค่า มีประโยชน์และเหมาะสมกับตนเองอย่างไร?
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากของเล่นที่ทำจากวัสดุเหลือใช้
- นักเรียนสามารถนำวัสดุเหลือใช้ไปประดิษฐ์ของเล่นอะไรได้บ้าง? - นักเรียนมีข้อควรระวังในการเล่นของเล่นอย่างไร? -นักเรียนจะเลือกเล่นของเล่นอย่างไรให้เหมาะกับตนเอง?
Brainstorms :
Blackboard Share :
Show and Share :
- นำเสนอชิ้นงาน
Wall Thinking :
ติดชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
-ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-บรรยากาศภายนอกชั้นเรียน
|
กิจกรรม :
-นักเรียนพับจรวด/ จี้จั้บ
- ทดลองร่อนจรวด
- นักเรียนประดิษฐ์ และทดลองเล่น“รถถัง”
- นักเรียนทดลองทำและเล่นลูกข่างจากแผ่นCD
-สนทนาสรุปสิ่งที่สังเกตพบเกี่ยวกับการเล่นลูกข่างจากแผ่นC.D.
- นักเรียนประดิษฐ์ และทดลองเล่นขวดหนังสะติ๊ก
- สนทนาสรุปสิ่งที่สังเกตพบเกี่ยวกับการเล่นขวดหนังสะติ๊ก
- ทบทวนสิ่งที่เรียนรู้ทั้งสัปดาห์
- นักเรียนนำเสนอชิ้นงานเป็นกลุ่ม
|
ภาระงาน
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนการพับสิ่งที่สังเกตเห็นและปัญหาที่พบในการพับและทดลองร่อนจรวด
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนการทำ/วิธีการเล่น/ปัญหาที่พบและสิ่งที่สังเกตเห็นในการทดลองขวดหนังสะติ๊ก
-นักเรียนเตรียมไม้ไอติมมาทำรถถัง
-นักเรียนเตรียมแผ่น CD มาทำลูกข่าง
-นักเรียนเตรียมขวดน้ำพลาสติกมาทำหนังสะติ๊ก
ชิ้นงาน
-พับจรวด/พับจี้จั้บ
-ลูกข่างจากแผ่นซีดี
- หนังสะติ๊กจากขวดน้ำ
- รถถังจากไม้ไอติม
- ใบงานแตก Wep ขั้นตอนการทำ/วิธีการเล่น/ปัญหาที่พบและสิ่งที่สังเกตเห็นในการทดลองเล่นขวดหนังสะติ๊ก
|
ความรู้ :
นักเรียนสามารถถ่ายทอดความเข้าใจผ่านการประดิษฐ์ของเล่นแบบต่าง ๆ และสามารถนำวัสดุในท้องถิ่นและวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์ของเล่นได้อย่างหลากหลาย
ทักษะ :
** ทักษะชีวิต
** ทักษะการคิด
** ทักษะการอยู่ร่วมกัน
** ทักษะการสื่อสาร
** ทักษะการสังเกต
** ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
6
15 – 19
ก.พ. 59
|
โจทย์ :
ของเล่นจากวัสดุสังเคราะห์
-หนังยาง
- ตัวการ์ตูนยาง
-ลูกบอลพลาสติก
-ลูกโป่ง
เครื่องมือคิด
Key Questions
- นักเรียนจะออกแบบการเล่นอย่างไร?
- นักเรียนมีข้อควรระวังในการเล่นอย่างไร?
- นักเรียนมีวิธีการดูแลเก็บรักษาของเล่นอย่างไร?
- ของเล่นจากวัสดุธรรมชาติ / วัสดุเหลือใช้ /วัสดุสังเคราะห์ มีความแตกต่างกันอย่างไร?
Brainstorms :
Blackboard Share :
Show and Share :
- นำเสนอชิ้นงาน
Wall Thinking
- ติดชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
-ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-บรรยากาศภายนอกชั้นเรียน
-หนังยาง/ตัวการ์ตูนยาง
-ลูกบอลพลาสติก -ลูกโป่ง |
กิจกรรม :
- เล่นเป่ากบ
-ออกแบบการเล่นหนังยางที่หลากหลายรุ)แบบ
-เล่นทอยเส้นตัวการ์ตูน
-เล่นตีก้อปลงหลุม
-สนทนาสิ่งที่ได้เกี่ยวกับการละเล่น “เป่ากบ” / “เล่นทอยเส้น ตัวการ์ตูนยาง” / “ตีก้อปลงหลุม”
-ทดลองทำ“รถแข่งพลังลูกโป่ง ”
- สนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการทดลองประดิษฐ์และทดลองเล่น“รถแข่งพลังลูกโป่ง”
- สนทนาระดมความคิดเกี่ยวกับความแตกต่างกัน ระหว่างของเล่นจากธรรมชาติ / ของเล่นที่ทำจากวัสดุเหลือใช้ และของเล่นสังเคราะห์
|
ภาระงาน
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการทดลองประดิษฐ์และทดลองเล่น“รถแข่งพลังลูกโป่ง ”
- ระดมความคิดออกแบบวิธีการเล่นหนังยางเป็นกลุ่ม - เล่นทอยเส้นตัวการ์ตูนยาง เล่นเป่ากบเป็นคู่ - นักเรียนเล่นตีก้อปลงหลุม
ชิ้นงาน
-ใบงานเขียน Wep ความแตกต่างของ ของเล่นจากธรรมชาติ ของเล่นจากวัสดุเหลือใช้และของเล่นสังเคราะห์
-รถแข่งพลังลูกโป่ง
|
ความรู้ :
นักเรียนสามารถเรียนรู้วิธีการเล่นที่หลากหลาย / เล่นอย่างปลอดภัย /รู้จักการเก็บรักษาดูแลของเล่น อีกทั้งยังสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ :
** ทักษะชีวิต
** ทักษะการคิด
** ทักษะการอยู่ร่วมกัน
** ทักษะการสื่อสาร
** ทักษะการสังเกต
** ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี
|
7
22 - 26
ก.พ.59
|
โจทย์ :
- การละเล่นพื้นบ้าน 4 ภาค
เครื่องมือคิด
Key Questions
-การละเล่นพื้นบ้านแต่ละภาคมีอะไรบ้างและมีความแตกต่างกันอย่างไร?
Brainstorms :
Blackboard Share :
Show and Share :
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
-ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-บรรยากาศภายในห้องเรียน
-สนามกลางแจ้ง
- เศษกระเบื้อง
-ผ้ามัดให้กลมๆ
-ผ้าผูกตา
|
กิจกรรม :
- ดูคลิปการละเล่นพื้นบ้าน 4ภาค
- สนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับคลิปVDO ที่ดู
-สนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการละเล่นของภาคเหนือ
- เล่นการละเล่นพื้นบ้า “โพงพาง”
- ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับการละเล่นของภาคอีสาน
-เล่นโยนเบี้ยกระโดด
- เล่น “ม้าหัวโปก”
- สนทนาสรุปเกี่ยวกับกิจกรรมการละเล่นที่ได้เล่นมาทั้งสัปดาห์
-นักเรียนเขียน Web เกี่ยวกับกิจกรรมการละเล่นที่ผ่านมาทั้งสัปดาห์ รวมถึงวิธีการเล่น/ข้อควรระวังในการเล่นการละเล่นต่างๆ
|
ภาระงาน
- ดูและสนทนาคลิปการละเล่นพื้นบ้าน 4 ภาค
-เล่นการละเล่น “โพงพาง”
-เล่นกาลละเล่น “ม้าหัวโปก”
-เล่นเบี้ยกระโดด
ชิ้นงาน
- ใบงานแตก Web การละเล่นพื้นบ้าน 4 ภาค
- ใบงานแตก Web กิจกรรมการเล่นที่ผ่านมาทั้งสัปดาห์/ วิธีการเล่น/ข้อควรระวังในการเล่นการละเล่นต่างๆ
|
ความรู้ :
-นักเรียนสามารถเรียนรู้เข้าใจถึงประโยชน์ และข้อควรระวัง ในการเล่นของเล่น และสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ เช่น รู้จักเลือกเล่นของเล่นที่เหมาะสมกับตนเอง
ทักษะ :
** ทักษะชีวิต
** ทักษะการคิด
** ทักษะการอยู่ร่วมกัน
** ทักษะการสื่อสาร
** ทักษะการสังเกต
** ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
8
29 ก.พ.
-
4 มี.ค.
59
|
โจทย์ :
- การละเล่นพื้นบ้าน 4 ภาค
เครื่องมือคิด
Key Questions
-การละเล่นพื้นบ้านแต่ละภาคมีอะไรบ้างและมีความแตกต่างกันอย่างไร?
- ถ้าไม่มีอุปกรณ์ หรือของเล่นจะออกแบบการเล่นได้อย่างไร?
Brainstorms :
Blackboard Share :
Show and Share :
-นำเสนอชิ้นงาน
Wall Thinking :
- ติดชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
-ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บริเวณสนามกลางแจ้ง
- วงล้อไม้ไผ่ /ล้อรถ
- เชือก
-เล่นขว้างราว (ขวดยาคูล /ก้อนหิน และไม้ไผ่เป็นแผ่นขนาดกว้าง 2 นิ้ว ยาว 30 ซ.ม.
|
กิจกรรม :
- เล่น “ตีลูกล้อ”
- ท่องคำคล้องจอง “การละเล่นไทย”
- เล่นตี่จั้บ
- ท่องคำคล้องจอง“ จ้ำจี้ /บ้านทรายทอง / ยาหย่าย่า ”
- สนทนาระดมความคิดออกแบบการเล่น ที่ไม่ต้องใช้อุปกรณ์
- สนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการละเล่นของเด็กภาคใต้ / ภาคกลาง
-เล่นขว้างราว
- สนทนาทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาทั้งสัปดาห์ และสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมือนและความแตกต่างของการละเล่นทั้ง 4 ภาค
|
ภาระงาน
-สนทนาเกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้านของภาคกลาง และภาคใต้และภาคกลาง
-เล่น “ขว้างราว”
- เล่น “ ตีลูกล้อ ”
- เล่น “ ตี่จั้บ ”
- นำเสนอการละเล่นที่ไม่ต้องใช้อุปกรณ์ กลุ่มละ 1อย่าง
ชิ้นงาน
-นักเรียนแตก Web การละเล่นที่ไม่ใช้อุปกรณ์
- นักเรียนแตก Web เกี่ยวกับความเหมือนและความแตกต่างของการละเล่นทั้ง 4 ภาค
|
ความรู้ :
- นักเรียนสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ /มีลักษณะนิสัยที่ดีมีระเบียบวินัยในการจัดเก็บรักษา ดูแลของเล่นของใช้ ได้เหมาะสมตามวัย
ทักษะ :
** ทักษะชีวิต
** ทักษะการคิด
** ทักษะการอยู่ร่วมกัน
** ทักษะการสื่อสาร
** ทักษะการสังเกต
** ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
9
7 -11
มี.ค. 59
|
โจทย์ :
เตรียมสรุปองค์ความรู้หลังเรียน
เครื่องมือคิด
Key Questions?
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้?
- นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้“ พิพิธภัณฑ์ของเล่น” ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้อย่างไร ?
Brainstorms :
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
-ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-บรรยากาศภายนอกชั้นเรียน
|
กิจกรรม :
- ทบทวนกิจกรรมของสัปดาห์ที่ผ่านมาเกี่ยวกับของเล่นที่ทำจากวัสดุต่างๆ
-ครูสนทนาแลกเปลี่ยนทบทวนกิจกรรมที่ได้ทำใน Quarter นี้และความรู้ที่ได้เรียนรู้ตลอด Quarter ที่ผ่านมา
-นักเรียนสรุปองค์ความรู้เป็นการ์ตูนช่อง
-ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ช่วยกันวางแผนออกแบบการ นำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน Quarter 4
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับรูปแบบการนำเสนอเพื่อให้การนำเสนอหรือการแสดงดูน่าสนใจมากขึ้น
|
ภาระงาน
-ทบทวนกิจกรรมของสัปดาห์ที่ผ่านมาเกี่ยวกับของเล่นที่ทำจากวัสดุต่างๆ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนออกแบบวิธีการการนำเสนอองค์ความรู้ของกลุ่มตนเอง
-นักเรียนสาธิตรูปแบบการนำเสนอองค์ความรู้ในรูปแบบของกลุ่มตน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับรูปแบบการนำเสนอเพื่อให้การนำเสนอหรือการแสดงดูน่าสนใจมากขึ้น
ชิ้นงาน
-ใบงานสรุปองค์ความรู้เป็นการ์ตูนช่อง
|
ความรู้ :
-นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนรู้ในหน่วย“พิพิธภัณฑ์ของเล่น”ได้ อีกทั้งยังสามารถวางแผนถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เรียนมาในQ. 4 ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้เพื่อสะท้อนแง่มุมของการเล่นที่หลากหลาย
- นำสิ่งที่เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และนำไปปรับใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ :
** ทักษะชีวิต
** ทักษะการคิด
** ทักษะการสื่อสาร
** ทักษะการสังเกต
** ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
** ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
10
14 – 18
มี.ค. 59
|
โจทย์ :
สรุปองค์ความรู้
เครื่องมือคิด
Key Questions
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับหน่วย“พิพิธภัณฑ์ของเล่น” ?
- นักเรียนจะเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับหน่วย “พิพิธภัณฑ์ของเล่น” ?ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร ?
Brainstorms :
Wall Thinking:
Show and Share :
นำเสนอสรุปองค์ความรู้
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
-ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-บรรยากาศรอบบริเวณอาคารอนุบาล
-คำคล้องจอง “การละเล่นไทย”
|
กิจกรรม :
-นักเรียนท่องคำคล้องจอง “การละเล่นไทย”
- ร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมการละเล่นไทยแต่ละภาคที่ได้เล่นและเรียนรู้ผ่านมา มาทั้ง Quarter
-นักเรียนวาดภาพขนาด A3 สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับการละเล่นไทยสี่ภาคเป็นกลุ่ม
-ครูและนักเรียนแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบฐานการละเล่นโดยให้ผู้ปกครองร่วมดูแลฐานต่างๆ ตามกลุ่มของลูก
- นักเรียนแต่ละกลุ่มซ้อมการแสดงของตนเอง
- นักเรียน /ครู / ผู้ปกครอง / ร่วมกิจกรรมสรุปองค์ความรู้ใน Quarter 4 / 58 และ เล่นการละเล่นพื้นบ้านตามฐานการเรียนรู้ต่าง ๆร่วมกัน
|
ภาระงาน
- ร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมการละเล่นไทยแต่ละภาคที่ได้เล่นและเรียนรู้ผ่านมา มาทั้งQuarter
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมสรุปองค์ความรู้ที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับหน่วย “พิพิธภัณฑ์ของเล่น”
ชิ้นงาน
-นักเรียนแตก Web เกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกันในทั้งQuarter 4 / 58
-ใบงาน วาดภาพขนาด A3สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับการละเล่นไทยสี่ภาคเป็นกลุ่ม
|
ความรู้ :
- นักเรียนสามารถพูดอธิบายและถ่ายทอดเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้ได้ พร้อมทั้งสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ :
** ทักษะชีวิต
** ทักษะการคิด
** ทักษะการอยู่ร่วมกัน
** ทักษะการสื่อสาร
** ทักษะการสังเกต
** ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|